วันเสาร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

นวัตกรรมทางการศึกษา

นวัตกรรมทางการศึกษา
Educational Innovation
ความหมายของนวัตกรรม
หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำนวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลา และแรงงานได้ด้วย
ความสำคัญของนวัตกรรมทางการศึกษา
การศึกษาจำเป็นต้องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษาที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาบางอย่างที่เกิดขึ้น นำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษาเกิดจากสาเหตุใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้
1. การเพิ่มปริมาณของผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เป็นไปอย่างรวดเร็ว นำเทคโนโลยีมาสนับสนุนให้สามารถสอนได้จำนวนคนที่มากขึ้น
2. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไปด้วยความรวดเร็ว การเรียนการสอนจึงตอบสนองการเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เร็วและเรียนรู้ได้มากในเวลาจำกัด นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงต้องค้นหานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้
3. การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้ม ของการเรียนรู้ไดด้วยตนเองมากยิ่งขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นวัตกรรมการศึกษาที่ตอบสนองผู้เรียนตามอัตภาพ ตามความสามารถของแต่ละคน
4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม การสื่อสารไร้พรมแดน การสร้างแหล่งเรียนรู้ทางการศึกษาที่ทำให้ไม่เลือกกลุ่ม ผู้เรียน เรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา (Anyone any where Any time)
ขอบข่ายของนวัตกรรม
วิธีการเรียนการสอน เทคนิควิธีการสอน การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน การใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการออกแบบหลักสูตรให้มีการบูรณาการให้สอดคล้องกับการวัดผลแบบใหม่ ดังนี้
1. การจัดการการเรื่องการสอยด้วยวิธีการใหม่ ๆ
2. เทคนิควิธีการสอนแบบต่าง ๆ ที่ไม่เคยมีการทำมาก่อน
3. การพัฒนาสื่อใหม่ ๆ เข้ามาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
4. การใช้เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มาปรับใช้ในระบบการเรียนการสอนในระบบทางไกลและการเรียนด้วยตนเอง
5. วิธีการในการออกแบบหลักสูตรใหม่ ๆ
6. การจัดการด้านวัดผลแบบใหม่ ๆ
นวัตกรรมทางการศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เกิดจากการศึกษาสภาพปัญหา และความเหมาะสมในการพัฒนา นวัตกรรมทางการศึกษาให้มีรูปแบบที่เหมาะสมกับการจัดการเรียน การศึกษาสมัยใหม่
ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ที่ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียนและช่วยประหยัดเวลาในการเรียน
แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมการศึกษา
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวคิดพื้นฐานทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไป อันทีผลทำให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สำคัญ 4 ประการ คือ
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different)
2. ความพร้อม (Readiness)
3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา (Scheduling)
4. ประสิทธิภาพในการเรียน (Learning Performance)
แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมการศึกษาประกอบด้วย
ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different)
1. การเรียนแบบไมแบ่งชั้น (Non-Graded School)
2. แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
3. เครื่องสอน (Teaching Machine)
4. การสอนเป็นคณะ (Team Teaching)
5. การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
6. เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
ความพร้อม (Readiness)
1. ศูนย์การเรียน (Learning Center)
2. การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
3. การปรับปรุงการสอน 3 ระยะ (Instructional Development in 3 Phases)
การใช้เวลาเพื่อการศึกษา (Scheduling)
1. การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)
2. มหาวิทยาลัยเปิด (Open University)
3. แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
4. การเรียนทางไปรษณีย์ (Post mail Learning)
ประสิทธิภาพในการเรียน (Learning Performance)
1. มหาวิทยาลัยเปิด (Open University)
2. การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์ (Learning via radio or TV)
3. การเรียนทางไปรษณีย์ (Post mail Learning)
4. แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
5. ชุดการเรียน (Learning Toolkits)
การจัดการนวัตกรรมการศึกษา
1. e-learning
2. ห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom)
3. การศึกษาทางไกล (Distance Learning)
4. การจัดกาเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
5. มิติใหม่แห่งการศึกษาไร้พรมแดน
6. สื่อหลายมิติ (Hypermedia)

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการศึกษาสมัยใหม่


เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการศึกษาสมัยใหม่
Information Technology for Modern Education
ประกอบด้วย
การจัดการเรียนการสอนบนเว็บ
บทเรียนออนไลน์
อินเตอร์เน็ตบรอดแคสติ้ง
ห้องสมุดเสมือน
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานได้ 2 รูปแบบใหญ่
1.การนำเสนอในลักษณะการจัดการเรียนการสอน บนเว็บ (Web Based Learning)
 อาศัยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต โดยมีการใช้โปรโตคอล ของอินเตอร์เน็ต
(TCP/IP, HTTPS)เป็นหลักในการถ่ายโอนข้อมูล เป็นการประยุกต์ใช้ Hyper media
เข้ากับ Internetเพื่อสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขตจำกัดด้วย
ระยะทาง และเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without Boundary)
ประโยชน์ของการการนำเสนอในลักษณะการจัดการเรียนการสอนบนเว็บ
ขจัดปัญหาขาดแคลนครูผู้สอนที่ได้รับการยอมรับ หรือมีประสิทธิภาพ
สร้างมาตรฐานเนื้อหาการเรียนรู้
สร้างโอกาสการเรียนรู้ให้กับกลุ่มคนที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา
เปิดช่องทางการเรียนรู้ตามอัธยาศัย (Informal learning)
การเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต (Lifelong learning
2.การนำเสนอบทเรียนในลักษณะบทเรียนออนไลน์ (e-learning)
1. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรือผ่าน CD-ROM หรือ สัญญาณโทรศัพท์ ดาวเทียม
2. รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการถ่ายทอดเรื่องราวและเนื้อหา โดยสามารถมีสื่อในการนาเสนอบทเรียนได้ตั้งแต่ 1 สื่อขึ้นไป และการเรียนการสอนนั้นสามารถนั้นสามารถที่จะอยู่ในรูปของการสอนทางเดียว หรือการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ได้
ลักษณะของบทเรียนออนไลน์
1.Real-timeการพิมพ์ข้อความแลกเปลี่ยนข่าวสารถึงกันหรือ chat room
2.Non real-time, email, webboard, News-group
การนำเสนอบทเรียนในลักษณะอินเตอร์เน็ตบรอดแคสติ้ง
เทคโนโลยีการถ่ายทอดสัญญาณภาพเสียง ผ่านเครือข่ายทาง Internetหรือเป็นเทคโนโลยีที่สามารถโยกย้ายข้อมูลจานวนมากของภาพเสียงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งระหว่างเครือข่าย Internetด้วยการบีบอัดสัญญาณ ชื่อที่คล้ายๆ ทางานในทานองเดียวกันคือ Cybercasting, Netcasting, Webcasting, Unicasting

ความหมายเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม


ความหมายเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม

 เทคโนโลยี
• วิทยาการที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ
 หลักการใช้
• ประสิทธิภาพของงาน (efficiency)
• ประสิทธิภาพ (productivity)
• ประหยัด (economy)
 การศึกษา (education)
• มีความหมายกว้างขวางครอบคลุมการพัฒนา การส่งเสริมมนุษย์และสังคมให้มีความเจริญงอกงามในทุกด้านทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
 เทคโนโลยีการศึกษา
• เทคโนโลยีการศึกษาเป็นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งในด้านการขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน

 ความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษา
• ทำให้มีการเรียนการสอนการจัดการศึกษามีความหมายมากขึ้น
• สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
• สามารถทำให้การจัดการศึกษาตั้งอยู่บนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
• ช่วยให้การจัดการศึกษามีพลังมากขึ้น มีบทบาทสำคัญในการสอนและการจัดการศึกษา
• ทำให้การเรียนอยู่แค่เอื้อม นำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้กับการศึกษาทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางมากขึ้น
• ทำให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษา
 เทคโนโลยีการสอนคือ
• เทคโนโลยีการสอนเป็นภาพของการแสวงหาแนวทางและวิธีการปฏิบัติเพื่อพัฒนาการกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 นวัตกรรมหมายถึง
• ความคิดและการกระทำใหม่ ๆที่ผ่านการพิสูจน์และนำเอามาใช้ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
 นวัตกรรมการศึกษาคือ
• ความคิดหรือวิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่ได้ผ่านการพิสูจน์ทดลองจนเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ นำมาใช้ในการส่งเสริม ปรับปรุง ระบบและกระบวนการทางการศึกษาให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพข้อสังเกตเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นนวัตกรรม
• เป็นความคิดหรือการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งที่คิดประดิษฐ์ขึ้นเอง
• การพิสูจน์ด้วยการวิจัย การทดลองใช้มาก่อน
• นำวิธีระบบมาใช้ชัดเจน
• ความคิดหรือกระทำใหม่ๆ
 ความสำคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาต่อการเรียนการสอน
• ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางและเข้าใจถูกต้องชัดเจนมากขึ้น
• สนองตอบเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
• ทำให้การจัดการศึกษามีคุณภาพสูงขึ้น
• มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
• ทำให้กระบวนการเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้เพียงอย่างเดียว
• ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรมากขึ้น

แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ


แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
Information Systems Conceptual
ยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศมีความสำคัญต่อการนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจ ดังนั้นการจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบธุรกิจ และการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน
ข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูล (Data)
ข้อมูล (Data)
คือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ควรค่าแก่การจัดเก็บเพื่อนำไปใช้ในโอกาสต่อไป โดยข้อมูลอาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ (Information)
คือข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นหรือประสบการณ์ส่วนบุคคล ที่นำมาผ่านกระบวนการประมวลผลข้อมูลและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การตัดสินใจ และคาดการณ์อนาคตได้ สารสนเทศอาจแสดงในรูปของข้อความ ตารางแผนภูมิ รูปภาพ เสียงและสัญลักษณ์ต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ
- ข้อมูลเกิดจาก Raw Facts สารสนเทศเกิดมาจากการรวบรวมข้อมูลทีผ่านการจัดการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของข้อมูล (tuning data) ให้เป็นสารสนเทศคือการประมวลผล (process)
ประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศในการบริหารงาน
 ด้านการวางแผน
 ด้านการตัดสินใจ
 ด้านการดำเนินงาน
คุณสมบัติของข้อมูลและสารสนเทศที่ดี
 มีความถูกต้อง (accuracy)
 มีความสมบูรณ์ (completeness)
 ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (relevance)
 มีความทันสมัย (up to date)
 ตรวจสอบได้ (verifiable)
 ความประหยัด (economics)
 ความยืดหยุ่น (flexibility)
 สามารถเผยแพร่ได้ (presentation)
 ความง่าย (simple)
 ทันกับความต้องการ (timeliness)
ระบบและระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบ
คือ หน่วยงานหรือองค์กรที่เกิดขึ้นจากการรวมสิ่งต่างๆ ซึ่งมีลักษณะซับซ้อน เข้าด้วยกันหรือชุดขององค์ประกอบที่มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในรูปแบบของความสัมพันธ์ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และดำเนินงานร่วมกันไปเพื่อสู่เป้าหมายเดียวกัน
องค์ประกอบสำคัญของการดำเนินการของระบบ
 ส่วนนำเข้า (Input)
 การประมวลผล หรือกระบวนการ (Process)
 ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output)
 ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 นำข้อมูลมาเป็นตัวป้อน data=input
 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 ฐานข้อมูล (Database)
 ระบบการควบคุม
 โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 บุคลากร
 ผู้ใช้งาน

เป้าหมายของระบบสารสนเทศ
 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
 กระบวนการผลิตต่าง ๆ ในองค์กรเพิ่มขึ้น ได้เปรียบในการแข่งขันทางการผลิต
 เพิ่มคุณภาพในการให้บริการ
 ผลิตสิ่งใหม่
 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
 ดึงดูดลูกผ้า ผู้ที่สนใจ
ระบบสารสนเทศฐานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
 HARDWARE
 SOFTWARE
 DATA
 TELECOMMUNICATION
 PROCEDURE
 PEOPLE
Fundamental function of Information system
 Input function
 Storage function
 Processing function
 Output function
 Communication function
ลักษณะและโครงสร้างของระบบสารสนเทL
• ผู้บริหารระดับสูง
• ผู้บริหารระดับกลาง
• ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ
• ระดับปฏิบัติการ

แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ


แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
Information Systems Conceptual
ยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศมีความสำคัญต่อการนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจ ดังนั้นการจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบธุรกิจ และการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน
ข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูล (Data)
ข้อมูล (Data)
คือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ควรค่าแก่การจัดเก็บเพื่อนำไปใช้ในโอกาสต่อไป โดยข้อมูลอาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ (Information)
คือข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นหรือประสบการณ์ส่วนบุคคล ที่นำมาผ่านกระบวนการประมวลผลข้อมูลและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การตัดสินใจ และคาดการณ์อนาคตได้ สารสนเทศอาจแสดงในรูปของข้อความ ตารางแผนภูมิ รูปภาพ เสียงและสัญลักษณ์ต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ
- ข้อมูลเกิดจาก Raw Facts สารสนเทศเกิดมาจากการรวบรวมข้อมูลทีผ่านการจัดการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของข้อมูล (tuning data) ให้เป็นสารสนเทศคือการประมวลผล (process)
ประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศในการบริหารงาน
 ด้านการวางแผน
 ด้านการตัดสินใจ
 ด้านการดำเนินงาน
คุณสมบัติของข้อมูลและสารสนเทศที่ดี
 มีความถูกต้อง (accuracy)
 มีความสมบูรณ์ (completeness)
 ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (relevance)
 มีความทันสมัย (up to date)
 ตรวจสอบได้ (verifiable)
 ความประหยัด (economics)
 ความยืดหยุ่น (flexibility)
 สามารถเผยแพร่ได้ (presentation)
 ความง่าย (simple)
 ทันกับความต้องการ (timeliness)
ระบบและระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบ
คือ หน่วยงานหรือองค์กรที่เกิดขึ้นจากการรวมสิ่งต่างๆ ซึ่งมีลักษณะซับซ้อน เข้าด้วยกันหรือชุดขององค์ประกอบที่มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในรูปแบบของความสัมพันธ์ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และดำเนินงานร่วมกันไปเพื่อสู่เป้าหมายเดียวกัน
องค์ประกอบสำคัญของการดำเนินการของระบบ
 ส่วนนำเข้า (Input)
 การประมวลผล หรือกระบวนการ (Process)
 ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output)
 ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 นำข้อมูลมาเป็นตัวป้อน data=input
 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 ฐานข้อมูล (Database)
 ระบบการควบคุม
 โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 บุคลากร
 ผู้ใช้งาน

เป้าหมายของระบบสารสนเทศ
 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
 กระบวนการผลิตต่าง ๆ ในองค์กรเพิ่มขึ้น ได้เปรียบในการแข่งขันทางการผลิต
 เพิ่มคุณภาพในการให้บริการ
 ผลิตสิ่งใหม่
 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
 ดึงดูดลูกผ้า ผู้ที่สนใจ
ระบบสารสนเทศฐานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
 HARDWARE
 SOFTWARE
 DATA
 TELECOMMUNICATION
 PROCEDURE
 PEOPLE
Fundamental function of Information system
 Input function
 Storage function
 Processing function
 Output function
 Communication function
ลักษณะและโครงสร้างของระบบสารสนเทL
• ผู้บริหารระดับสูง
• ผู้บริหารระดับกลาง
• ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ
• ระดับปฏิบัติการ

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์


การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Data Communication and Computer Network
ความหมาย องค์ประกอบของการสื่อสาร
การสื่อสาร (Communication)
เป็นกระบวนการสำหรับถ่ายทอดหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล
หรือสารสนเทศระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารโดยทั่วไปใช้ระบบสัญลักษณ์
ร่วมกัน เช่น ท่าทาง ภาษามือ ตัวอักษร ตัวหนังสือ หรือภาษาต่างๆ ซึ่งมนุษย์ได้มีการพัฒนาการติดต่อสื่อสารมาตั้งแต่อดีตที่ใช้ควันไฟ จดหมาย โทรเลข โทรศัพท์ จนกระทั่งถึงปัจจุบันที่มีการสื่อสาร
ผ่านโทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และดาวเทียม
การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ส่งสาร
และผู้รับสาร หรือระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร โดยผ่านสื่อกลาง (Transmission Media) ที่ใช้ในการส่งผ่านข้อมูล
องค์ประกอบของการสื่อสาร
1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นแหล่งต้นทางของการสื่อสารโดยมีหน้าที่ในการให้กำเนิดหรือเตรียมข้อมูล เช่น ผู้พูด คอมพิวเตอร์ต้นทาง เป็นต้น
2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นแหล่งปลายทางของการสื่อสาร หรือเป็นอุปกรณ์ที่จะนำข้อมูลนั้นไปใช้ประโยชน์ต่อไปเช่น ผู้รับ คอมพิวเตอร์ปลายทาง เครื่องพิมพ์
3. ข่าวสาร (Message) มีได้หลายรูปแบบ เช่น ข้อความ (Text) เสียง (Voice) รูปภาพ (Image) สื่อผสม (Multimedia)
4. สื่อกลางหรือตัวกลางในการนำส่งข้อมูล (Medium) เป็นสื่อหรือช่องทางที่ใช้ในการนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ซึ่งอาจเป็นตัวกลางที่มีสายสัญญาณเช่น สายไฟ หรือตัวกลางที่ไม่ใช้สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็นต้น
5. โปรโตคอล (Protocol) เป็นข้อกำหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่อสาร เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับมีความเข้าใจตรงกัน
เทคโนโลยีการสื่อสาร
การทำให้เกิดการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในการดำเนินธุรกิจ เกิดระบบธุรกิจการค้ารูปแบบใหม่ คือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยจะนำเสนอเพื่อความเข้าใจในรูปแบบของ แบบจำลองการสื่อสารและระบบโทรคมนาคม ดังนี้
1. แบบจำลองการสื่อสาร
1.1 แหล่งต้นทาง (Source)
1.2 เครื่องส่ง (Transmitter)
1.3 ระบบการส่ง (Transmission System)
1.4 เครื่องรับ (Receiver)
1.5 แหล่งปลายทาง (Destination)
2. ระบบโทรคมนาคม
การสื่อสารข้อมูลระยะทางไกลในรูปแบบสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ในช่วงก่อนการโทรคมนาคมมีขีดจำกัดอยู่เพียงการสื่อสารโดยเป็นเสียงคนผ่านสายโทรศัพท์ แต่ในปัจจุบันการส่งสัญญาณโทรคมนาคมเกือบทั้งหมดเป็นการถ่ายทอดสัญญาณในรูปแบบดิจิตอล โดยใช้คอมพิวเตอร์ในการถ่ายทอดข้อมูลจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งเชื่อกันว่าการพัฒนาการของระบบโทรคมนาคมได้มาถึงช่วงกลาง โดยมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปทั่ว
ระบบโทรคมนาคมประกอบด้วย
1. เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับการประมวลผล
2. เครื่อง Terminal สำหรับรับและการแสดงผลข้อมูล
3. ช่องสื่อสาร คือการเชื่อมต่อในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สายโทรศัพท์ สายใยแก้วนำแสง เป็นต้น
4. อุปกรณ์ประมวลผลสำหรับการสื่อสาร เช่น โมเด็ม เป็นต้น
5. software สื่อสารซึ่งควบคุมกิจกรรมการส่ง รับข้อมูล บริหารจัดการหน้าที่ต่างๆ อำนวยความสะดวกในการสื่อสาร
ชนิดของสัญญาณ
สัญญาณอนาลอก (Analog Signal)
สัญญาณดิจิทัล (Digital Signal)
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล
1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางหนึ่ง โดยไม่สามารถย้อนกลับมาได้ เช่น ระบบวิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น
2. แบบกึ่งสองทิศทาง (Half Duplex) ข้อมูลสามารถส่งสลับได้ ทั้งสองทิศทาง โดยผลัดกันส่ง เช่นวิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด
3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex) ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้งสองทิศทางอย่างอิสระ เช่น ระบบโทรศัพท์
ช่องทางการสื่อสารข้อมูล
สามารถแบ่งเป็นแบบมีสายสัญญาณและไร้สายสัญญาณ
คือ wired และ Wireless สื่อกลางแบบมีสายสัญญาณ
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ ระบบการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เพื่อให้สามารถทําการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกันได้
2.รูปแบบในการเชื่อมต่อเครือข่าย หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของเครือข่าย รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปภายในเครือข่ายซึ่งรูปแบบที่นิยมใช้กันในปัจจุบันโดยหลักแล้วสามารถแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบ
- การเชื่อมต่อแบบดาว (Star Topology)
- การเชื่อมต่อแบบบัส (Bus Topology)
- การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (Ring Topology)
อุปกรณ์การสื่อสารข้อมูล ประกอบด้วย
HARDWARE
1. NIC (Network Interface Card) เป็นการ์ด ที่ใช้เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์กับสายสื่อสาร
2. HUB เป็นอุปกรณ์จำเป็นในการต่อสายLAN แบบ UTP มี PORT เป็น 8,16 ,24
3. Bridge เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อสัญญาณระหว่างเครือข่าย LAN 2 เครือข่ายจะทำงานที่ Layer 1 ทำหน้าที่ทวนซ้ำสัญญาณเช่น ในระบบเครือข่ายมี PC 10 เครื่อง เมื่อ PC1 ต้องการส่งข้อมูลไปยัง PC5 ในขณะนั้น PC อื่นๆ จะไม่สามารถส่งข้อมูลได้
4. Switching Switch จะทำงานที่ Layer 2 จะทำงานเหมือนกับ Hub แต่ ขณะที่ PC1 ส่งข้อมูลไปยัง PC5 PC อื่นๆ จะยังสามารถส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ
5. Router เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เหมือนกับบริดจ์แต่จะมีประสิทธิภาพมากกว่า โดยสามารถจัดหาเส้นทางข้อมูล เพื่อส่งไปยังสถานีปลายทางได้อย่างถูกต้อง โดยปัจจุบันมีการรวมหน้าที่การทำงานของ Gateway ไว้ในRouter SOFTWARE
ระบบปฏิบัติการของระบบเครือข่ายเรียกว่า NOS (Network Operating System) เป็นตัวติดต่อระหว่างสถานีผู้ใช้ กับไฟล์เซิร์ฟเวอร์ เช่น Novell’s Netware OS/2 LAN Server, Microsoft Windows NT Server, Microsoft Windows NT 2000, Apple share, Unix ,Linux etc
ตัวกลางนำสัญญาณ ตัวกลางที่ใช้ในระบบเครือข่าย สามารถเป็นได้ หลายชนิด เช่น Coaxial cable, UTP, Fiber Optic และคลื่นวิทยุที่ใช้กับ Wireless LAN เป็นต้น
รูปแบบการประมวลผลข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Processing)
 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing)
 การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) real time
2. การประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Processing
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เครือข่ายส่วนบุคคล (PAN: Personal Area Network)
2. เครือข่ายระยะใกล้ (LAN: Local Area Network)
3. เครือข่ายระดับเมือง (MAN: Metropolitan Area Network)
4. เครือข่ายระยะไกลระดับประเทศ (WAN : Wide Area Network)

วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

ทายนิสัยจากรูปร่าง



Categories

Love
Life
Quiz
Other
Show all

Misc.

Send article
About


ทายนิสัยจากรูปร่าง คงทราบกันดีอยู่แล้วว่าสรีระของคนเรานั้นแตกต่างกัน

บ้างก็ตัวโตสูงใหญ่

บ้างก็รูปร่างอรชรอ้อนแอ้น และสาเหตุที่ทำให้รูปร่างคนเราแตกต่างกันนั้น ก็มาจากกรรมพันธุ์นั่นเอง แต่หลายคนคงจะยังไม่ทราบว่า ลักษณะรูปร่างของคนเรานั้น สามารถบ่งบอกถึงนิสัยใจคอได้เช่นกัน ซึ่งนักจิตวิทยาได้ทำการศึกษาวิจัยออกมา ได้ผลเป็นที่น่าสนใจทีเดียว

รูปร่างสูงผอม
อุปนิสัยของคนที่มีลักษณะรูปร่างออกไปทางสูงผอม ซึ่งถ้าเป็นผู้หญิงก็มักจะเรียกกันว่าหุ่นนางแบบนั่นเอง รูปร่างเช่นนี้บ่งบอกถึงความเป็นคนอ่อนไหว ช่างรู้สึก รู้สึกง่ายหรือไวนั่นแหละ จะสามารถจับความรู้สึกความต้องการของคนได้เร็ว จนบางครั้งก็ทำให้กลายเป็นคนที่ระมัดระวังตัวสูง ในขณะเดียวกันก็เป็นคนช่างคิด และดูจะคิดมากจนเกินไป แต่ว่าก็เป็นคนจิตใจดี มีน้ำใจ เป็นคนเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ชอบช่วยเหลือคนรอบข้างอยู่เสมอๆ

รูปร่างสูงท้วม
สำหรับคนที่มีรูปร่างออกไปทางสูงและดูมีเนื้อหนังอยู่สักหน่อยนั้น อุปนิสัยมักจะเป็นคนที่ยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีสูงมาก จะรักจะชอบใครก็มักจะทำตามขอบเขตกฎเกณฑ์ และค่อนข้างเป็นคนที่ต้องการความมั่นคงในชีวิตสูงทีเดียวแหละ นอกจากนี้ยังบ่งบอกถึงการเป็นคนรักบ้านและให้ความสำคัญกับครอบครัวมาก และให้คุณค่ากับวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม เช่นเด็กจะต้องเชื่อฟังผู้ใหญ่เป็นต้น และมักไม่ชอบอยู่ว่าง แต่จะทำนั่นทำนี่ที่เป็นประโยชน์ต่อคนในครอบครัวเสมอ

รูปร่างสูงใหญ่
สำหรับคนที่มีรูปร่างสูงใหญ่บึกบึนประหนึ่งนักกีฬายกน้ำหนักทีมชาตินั้น มักเป็นคนที่มีพลังกระตือรือร้นสูงจะไม่ค่อยมีคนเห็นผู้มีรูปร่างแบบนี้อยู่นิ่งๆได้หรอก เพราะเขามักจะเคลื่อนไหวทำนั่นทำนี่อยู่เสมอ โดยเฉพาะการกระที่ได้ออกแรง ออกกำลังกาย นอกจากนี้ยังเป็นคนที่สามารถหาความสุขได้ง่ายๆจากทุกสิ่งรอบตัว มีความรื่นรมย์อยู่เป็นนิจจนดูเหมือนคนที่ไม่รู้จักเดือดเนื้อร้อนใจกับใครเป็น แต่เชื่อเถอะว่าเขาคนนี้มั่นใจในตัวเองเต็มร้อยทีเดียว

รูปร่างเตี้ยผอม
สำหรับบุคคลที่มีรูปร่างเตี้ยผอมบอบบาง ซึ่งหุ่นแบบนี้โดยมากแล้วมักจะเป็นสรีระของชนชาติแถบเอเชีย เช่นคนไทยนั่นเอง สำหรับนิสัยใจคอของคนที่มีรูปร่างลักษณะดังกล่าวนี้เห็นอย่างนี้เถิด จริงๆแล้วจะเป็นคนที่มีความทรหดอดทนสูงมาก และมีความตั้งใจจริงในการกระทำสิ่งต่างๆ รวมทั้งหวังผลในการสำเร็จสูงเสียด้วย เรียกว่าจะทำอะไรก็ต้องทำให้สำเร็จนั่นเอง ไม่มีทางที่จะทำแล้วเลิกเสียกลางคันโดยเด็ดขาด เป็นคนชอบทำงานหนักและมีกำลังใจดีมาก

รูปร่างเตี้ยท้วม
สำหรับคนที่มีรูปร่างเตี้ยและท้วมนิดๆคือไม่ถึงกับผอมบางจนแทบจะปลิวตามลมนั่นแหละ นิสัยของคนที่มีรูปร่างลักษณะเช่นนี้ มักจะเป็นคนที่ชอบความสนุกสนานรื่นเริงบันเทิงใจอยู่เสมอ มักแสวงหาเวลาพักผ่อนให้กับตัวเองแทบทุกครั้งที่มีโอกาส ไม่ชอบการเคร่งเครียดซีเรียสทำงานที่จริงจังขึงขังจนเกินไป นอกจากนี้ยังเป็นคนรักความสงบ รักธรรมชาติ แต่ในขณะเดียวกันก็พร้อมที่จะหยิบยื่นมิตรภาพและไมตรีให้กับทุกๆคนโดยเท่าเทียมกัน

รูปร่างเตี้ยหนา
ส่วนคนที่มีรูปร่างเตี้ยหนา เต็มไปด้วยหมัดกล้าม อย่างคนที่ชอบออกกำลังกายอยู่เสมอๆนั้น มักมีนิสัยที่ชมชอบความตื่นเต้นและการผจญภัย และยังชอบเล่นกีฬาที่เต็มไปด้วยความผาดโผนเสี่ยงเป็นเสี่ยงตาย รวมทั้งการแข่งขันทุกชนิดที่น่าตื่นเต้นเร้าใจเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังเป็นคนที่มีใจคอเด็ดเดี่ยวกล้าหาญ จนดูเป็นคนที่มุทะลุจนเกินไป แต่ในขณะเดียวกันจิตใจเบื้องลึกกลับอ่อนไหว ต้องการความอบอุ่นและความเข้าใจจากคนใกล้ชิดมากๆ
ที่มา : admin
เจ้าของบทความ : ไม่ทราบชื่อ Copyright (c) 2008 ThaiReaderClub.com , All rights reserved

วันเสาร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

นวัตกรรมทางการศึกษา

นวัตกรรมทางการศึกษา
Educational Innovation
ความหมายของนวัตกรรม
หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำนวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลา และแรงงานได้ด้วย
ความสำคัญของนวัตกรรมทางการศึกษา
การศึกษาจำเป็นต้องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษาที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาบางอย่างที่เกิดขึ้น นำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษาเกิดจากสาเหตุใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้
1. การเพิ่มปริมาณของผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เป็นไปอย่างรวดเร็ว นำเทคโนโลยีมาสนับสนุนให้สามารถสอนได้จำนวนคนที่มากขึ้น
2. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไปด้วยความรวดเร็ว การเรียนการสอนจึงตอบสนองการเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เร็วและเรียนรู้ได้มากในเวลาจำกัด นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงต้องค้นหานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้
3. การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้ม ของการเรียนรู้ไดด้วยตนเองมากยิ่งขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นวัตกรรมการศึกษาที่ตอบสนองผู้เรียนตามอัตภาพ ตามความสามารถของแต่ละคน
4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม การสื่อสารไร้พรมแดน การสร้างแหล่งเรียนรู้ทางการศึกษาที่ทำให้ไม่เลือกกลุ่ม ผู้เรียน เรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา (Anyone any where Any time)
ขอบข่ายของนวัตกรรม
วิธีการเรียนการสอน เทคนิควิธีการสอน การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน การใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการออกแบบหลักสูตรให้มีการบูรณาการให้สอดคล้องกับการวัดผลแบบใหม่ ดังนี้
1. การจัดการการเรื่องการสอยด้วยวิธีการใหม่ ๆ
2. เทคนิควิธีการสอนแบบต่าง ๆ ที่ไม่เคยมีการทำมาก่อน
3. การพัฒนาสื่อใหม่ ๆ เข้ามาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
4. การใช้เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มาปรับใช้ในระบบการเรียนการสอนในระบบทางไกลและการเรียนด้วยตนเอง
5. วิธีการในการออกแบบหลักสูตรใหม่ ๆ
6. การจัดการด้านวัดผลแบบใหม่ ๆ
นวัตกรรมทางการศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เกิดจากการศึกษาสภาพปัญหา และความเหมาะสมในการพัฒนา นวัตกรรมทางการศึกษาให้มีรูปแบบที่เหมาะสมกับการจัดการเรียน การศึกษาสมัยใหม่
ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ที่ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียนและช่วยประหยัดเวลาในการเรียน
แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมการศึกษา
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวคิดพื้นฐานทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไป อันทีผลทำให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สำคัญ 4 ประการ คือ
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different)
2. ความพร้อม (Readiness)
3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา (Scheduling)
4. ประสิทธิภาพในการเรียน (Learning Performance)
แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมการศึกษาประกอบด้วย
ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different)
1. การเรียนแบบไมแบ่งชั้น (Non-Graded School)
2. แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
3. เครื่องสอน (Teaching Machine)
4. การสอนเป็นคณะ (Team Teaching)
5. การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
6. เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
ความพร้อม (Readiness)
1. ศูนย์การเรียน (Learning Center)
2. การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
3. การปรับปรุงการสอน 3 ระยะ (Instructional Development in 3 Phases)
การใช้เวลาเพื่อการศึกษา (Scheduling)
1. การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)
2. มหาวิทยาลัยเปิด (Open University)
3. แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
4. การเรียนทางไปรษณีย์ (Post mail Learning)
ประสิทธิภาพในการเรียน (Learning Performance)
1. มหาวิทยาลัยเปิด (Open University)
2. การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์ (Learning via radio or TV)
3. การเรียนทางไปรษณีย์ (Post mail Learning)
4. แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
5. ชุดการเรียน (Learning Toolkits)
การจัดการนวัตกรรมการศึกษา
1. e-learning
2. ห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom)
3. การศึกษาทางไกล (Distance Learning)
4. การจัดกาเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
5. มิติใหม่แห่งการศึกษาไร้พรมแดน
6. สื่อหลายมิติ (Hypermedia)

วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

ประวัติส่วนตัวของนายนิราศ เดชผล

ชื่อ นายนิราศ เดชผล
เกิด 30 ธันวาคม 2513
เป็นบุตรคนที่ 2 ของนายทำนอง เดชผล และ นางดวงมาลา เดชผล ในจำนวนพี่น้อง 4 คน ที่อยู่ 105 หมู่ 3 ต.ปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000
สถานภาพ สมรสกับนางวนิดา เดชผล เมื่อ ปี 2550 มีบุตร 1 คน คือ
เด็กหญิงภัทรวดี เดชผล
ประวัติทางด้านการศึกษา

จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนบ้านปะอาว ต.ปะอาว อ.เมืองจอุบล
จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช อ.เมือง

จ.อุบลราชธานี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนศรีปทุมพิทยาคาร อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
ประวัติทางด้านการทำงาน บรรจุเข้ารับราชการครูครั้งแรก เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2537 ในตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนบ้านตากแดด สปอ.ตระการพืชผล สปจ.อุบลราชธานี ปี 2543 ย้ายมาดำรงตำแหน่งที่ โรงเรียนบ้านหนองไหล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 จนกระทั่งถึงปัจจุบัน
ดำรงตำแหน่งครู คศ.3 อายุราชการ 15 ปี 10 เดือน

ความหมายเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม




ความหมายเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม

 เทคโนโลยี
• วิทยาการที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ
 หลักการใช้
• ประสิทธิภาพของงาน (efficiency)
• ประสิทธิภาพ (productivity)
• ประหยัด (economy)
 การศึกษา (education)
• มีความหมายกว้างขวางครอบคลุมการพัฒนา การส่งเสริมมนุษย์และสังคมให้มีความเจริญงอกงามในทุกด้านทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
 เทคโนโลยีการศึกษา
• เทคโนโลยีการศึกษาเป็นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งในด้านการขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน

 ความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษา
• ทำให้มีการเรียนการสอนการจัดการศึกษามีความหมายมากขึ้น
• สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
• สามารถทำให้การจัดการศึกษาตั้งอยู่บนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
• ช่วยให้การจัดการศึกษามีพลังมากขึ้น มีบทบาทสำคัญในการสอนและการจัดการศึกษา
• ทำให้การเรียนอยู่แค่เอื้อม นำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้กับการศึกษาทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางมากขึ้น
• ทำให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษา
 เทคโนโลยีการสอนคือ
• เทคโนโลยีการสอนเป็นภาพของการแสวงหาแนวทางและวิธีการปฏิบัติเพื่อพัฒนาการกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 นวัตกรรมหมายถึง
• ความคิดและการกระทำใหม่ ๆที่ผ่านการพิสูจน์และนำเอามาใช้ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
 นวัตกรรมการศึกษาคือ
• ความคิดหรือวิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่ได้ผ่านการพิสูจน์ทดลองจนเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ นำมาใช้ในการส่งเสริม ปรับปรุง ระบบและกระบวนการทางการศึกษาให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพข้อสังเกตเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นนวัตกรรม
• เป็นความคิดหรือการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งที่คิดประดิษฐ์ขึ้นเอง
• การพิสูจน์ด้วยการวิจัย การทดลองใช้มาก่อน
• นำวิธีระบบมาใช้ชัดเจน
• ความคิดหรือกระทำใหม่ๆ
 ความสำคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาต่อการเรียนการสอน
• ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางและเข้าใจถูกต้องชัดเจนมากขึ้น
• สนองตอบเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
• ทำให้การจัดการศึกษามีคุณภาพสูงขึ้น
• มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
• ทำให้กระบวนการเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้เพียงอย่างเดียว
• ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรมากขึ้น

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Data Communication and Computer Network
ความหมาย องค์ประกอบของการสื่อสาร
การสื่อสาร (Communication)
เป็นกระบวนการสำหรับถ่ายทอดหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล
หรือสารสนเทศระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารโดยทั่วไปใช้ระบบสัญลักษณ์
ร่วมกัน เช่น ท่าทาง ภาษามือ ตัวอักษร ตัวหนังสือ หรือภาษาต่างๆ
ซึ่งมนุษย์ได้มีการพัฒนาการติดต่อสื่อสารมาตั้งแต่อดีตที่ใช้ควันไฟ
จดหมาย โทรเลข โทรศัพท์ จนกระทั่งถึงปัจจุบันที่มีการสื่อสาร
ผ่านโทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และดาวเทียม
การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ส่งสาร
และผู้รับสาร หรือระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร โดยผ่านสื่อกลาง (Transmission Media)
ที่ใช้ในการส่งผ่านข้อมูล
องค์ประกอบของการสื่อสาร
1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นแหล่งต้นทางของการสื่อสารโดยมีหน้าที่ในการให้กำเนิดหรือเตรียมข้อมูล เช่น ผู้พูด คอมพิวเตอร์ต้นทาง เป็นต้น
2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นแหล่งปลายทางของการสื่อสาร หรือเป็นอุปกรณ์ที่จะนำข้อมูลนั้นไปใช้ประโยชน์ต่อไปเช่น ผู้รับ คอมพิวเตอร์ปลายทาง เครื่องพิมพ์
3. ข่าวสาร (Message) มีได้หลายรูปแบบ เช่น ข้อความ (Text) เสียง (Voice) รูปภาพ (Image) สื่อผสม (Multimedia)
4. สื่อกลางหรือตัวกลางในการนำส่งข้อมูล (Medium) เป็นสื่อหรือช่องทางที่ใช้ในการนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ซึ่งอาจเป็นตัวกลางที่มีสายสัญญาณเช่น สายไฟ หรือตัวกลางที่ไม่ใช้สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็นต้น
5. โปรโตคอล (Protocol) เป็นข้อกำหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่อสาร เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับมีความเข้าใจตรงกัน
เทคโนโลยีการสื่อสาร
การทำให้เกิดการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในการดำเนินธุรกิจ เกิดระบบธุรกิจการค้ารูปแบบใหม่ คือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยจะนำเสนอเพื่อความเข้าใจในรูปแบบของ แบบจำลองการสื่อสารและระบบโทรคมนาคม ดังนี้
1. แบบจำลองการสื่อสาร
1.1 แหล่งต้นทาง (Source)
1.2 เครื่องส่ง (Transmitter)
1.3 ระบบการส่ง (Transmission System)
1.4 เครื่องรับ (Receiver)
1.5 แหล่งปลายทาง (Destination)
2. ระบบโทรคมนาคม
การสื่อสารข้อมูลระยะทางไกลในรูปแบบสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ในช่วงก่อนการโทรคมนาคมมีขีดจำกัดอยู่เพียงการสื่อสารโดยเป็นเสียงคนผ่านสายโทรศัพท์ แต่ในปัจจุบันการส่งสัญญาณโทรคมนาคมเกือบทั้งหมดเป็นการถ่ายทอดสัญญาณในรูปแบบดิจิตอล โดยใช้คอมพิวเตอร์ในการถ่ายทอดข้อมูลจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งเชื่อกันว่าการพัฒนาการของระบบโทรคมนาคมได้มาถึงช่วงกลาง โดยมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปทั่ว
ระบบโทรคมนาคมประกอบด้วย
1. เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับการประมวลผล
2. เครื่อง Terminal สำหรับรับและการแสดงผลข้อมูล
3. ช่องสื่อสาร คือการเชื่อมต่อในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สายโทรศัพท์ สายใยแก้วนำแสง เป็นต้น
4. อุปกรณ์ประมวลผลสำหรับการสื่อสาร เช่น โมเด็ม เป็นต้น
5. software สื่อสารซึ่งควบคุมกิจกรรมการส่ง รับข้อมูล บริหารจัดการหน้าที่ต่างๆ อำนวยความสะดวกในการสื่อสาร
ชนิดของสัญญาณ
สัญญาณอนาลอก (Analog Signal)
สัญญาณดิจิทัล (Digital Signal)
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล
1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางหนึ่ง โดยไม่สามารถย้อนกลับมาได้ เช่น ระบบวิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น
2. แบบกึ่งสองทิศทาง (Half Duplex) ข้อมูลสามารถส่งสลับได้ ทั้งสองทิศทาง โดยผลัดกันส่ง เช่นวิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด
3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex) ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้งสองทิศทางอย่างอิสระ เช่น ระบบโทรศัพท์
ช่องทางการสื่อสารข้อมูล
สามารถแบ่งเป็นแบบมีสายสัญญาณและไร้สายสัญญาณ
คือ wired และ Wireless สื่อกลางแบบมีสายสัญญาณ
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ ระบบการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เพื่อให้สามารถทําการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกันได้
2.รูปแบบในการเชื่อมต่อเครือข่าย หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของเครือข่าย รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปภายในเครือข่ายซึ่งรูปแบบที่นิยมใช้กันในปัจจุบันโดยหลักแล้วสามารถแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบ
- การเชื่อมต่อแบบดาว (Star Topology)
- การเชื่อมต่อแบบบัส (Bus Topology)
- การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (Ring Topology)
อุปกรณ์การสื่อสารข้อมูล ประกอบด้วย
HARDWARE
1. NIC (Network Interface Card) เป็นการ์ด ที่ใช้เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์กับสายสื่อสาร
2. HUB เป็นอุปกรณ์จำเป็นในการต่อสายLAN แบบ UTP มี PORT เป็น 8,16 ,24
3. Bridge เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อสัญญาณระหว่างเครือข่าย LAN 2 เครือข่ายจะทำงานที่ Layer 1 ทำหน้าที่ทวนซ้ำสัญญาณเช่น ในระบบเครือข่ายมี PC 10 เครื่อง เมื่อ PC1 ต้องการส่งข้อมูลไปยัง PC5 ในขณะนั้น PC อื่นๆ จะไม่สามารถส่งข้อมูลได้
4. Switching Switch จะทำงานที่ Layer 2 จะทำงานเหมือนกับ Hub แต่ ขณะที่ PC1 ส่งข้อมูลไปยัง PC5 PC อื่นๆ จะยังสามารถส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ
5. Router เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เหมือนกับบริดจ์แต่จะมีประสิทธิภาพมากกว่า โดยสามารถจัดหาเส้นทางข้อมูล เพื่อส่งไปยังสถานีปลายทางได้อย่างถูกต้อง โดยปัจจุบันมีการรวมหน้าที่การทำงานของ Gateway ไว้ในRouter
SOFTWARE
ระบบปฏิบัติการของระบบเครือข่ายเรียกว่า NOS (Network Operating System) เป็นตัวติดต่อระหว่างสถานีผู้ใช้ กับไฟล์เซิร์ฟเวอร์ เช่น Novell’s Netware OS/2 LAN Server, Microsoft Windows NT Server, Microsoft Windows NT 2000, Apple share, Unix ,Linux etc
ตัวกลางนำสัญญาณ ตัวกลางที่ใช้ในระบบเครือข่าย สามารถเป็นได้ หลายชนิด เช่น Coaxial cable, UTP, Fiber Optic และคลื่นวิทยุที่ใช้กับ Wireless LAN เป็นต้น
รูปแบบการประมวลผลข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Processing)
 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing)
 การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) real time
2. การประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Processing
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เครือข่ายส่วนบุคคล (PAN: Personal Area Network)
2. เครือข่ายระยะใกล้ (LAN: Local Area Network)
3. เครือข่ายระดับเมือง (MAN: Metropolitan Area Network)
4. เครือข่ายระยะไกลระดับประเทศ (WAN : Wide Area Network)

แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ

แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
Information Systems Conceptual
ยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศมีความสำคัญต่อการนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจ ดังนั้นการจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบธุรกิจ และการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน
ข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูล (Data)
ข้อมูล (Data)
คือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ควรค่าแก่การจัดเก็บเพื่อนำไปใช้ในโอกาสต่อไป โดยข้อมูลอาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ (Information)
คือข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นหรือประสบการณ์ส่วนบุคคล ที่นำมาผ่านกระบวนการประมวลผลข้อมูลและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การตัดสินใจ และคาดการณ์อนาคตได้ สารสนเทศอาจแสดงในรูปของข้อความ ตารางแผนภูมิ รูปภาพ เสียงและสัญลักษณ์ต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ
- ข้อมูลเกิดจาก Raw Facts สารสนเทศเกิดมาจากการรวบรวมข้อมูลทีผ่านการจัดการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของข้อมูล (tuning data) ให้เป็นสารสนเทศคือการประมวลผล (process)
ประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศในการบริหารงาน
 ด้านการวางแผน
 ด้านการตัดสินใจ
 ด้านการดำเนินงาน
คุณสมบัติของข้อมูลและสารสนเทศที่ดี
 มีความถูกต้อง (accuracy)
 มีความสมบูรณ์ (completeness)
 ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (relevance)
 มีความทันสมัย (up to date)
 ตรวจสอบได้ (verifiable)
 ความประหยัด (economics)
 ความยืดหยุ่น (flexibility)
 สามารถเผยแพร่ได้ (presentation)
 ความง่าย (simple)
 ทันกับความต้องการ (timeliness)
ระบบและระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบ
คือ หน่วยงานหรือองค์กรที่เกิดขึ้นจากการรวมสิ่งต่างๆ ซึ่งมีลักษณะซับซ้อน เข้าด้วยกันหรือชุดขององค์ประกอบที่มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในรูปแบบของความสัมพันธ์ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และดำเนินงานร่วมกันไปเพื่อสู่เป้าหมายเดียวกัน
องค์ประกอบสำคัญของการดำเนินการของระบบ
 ส่วนนำเข้า (Input)
 การประมวลผล หรือกระบวนการ (Process)
 ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output)
 ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 นำข้อมูลมาเป็นตัวป้อน data=input
 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 ฐานข้อมูล (Database)
 ระบบการควบคุม
 โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 บุคลากร
 ผู้ใช้งาน

เป้าหมายของระบบสารสนเทศ
 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
 กระบวนการผลิตต่าง ๆ ในองค์กรเพิ่มขึ้น ได้เปรียบในการแข่งขันทางการผลิต
 เพิ่มคุณภาพในการให้บริการ
 ผลิตสิ่งใหม่
 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
 ดึงดูดลูกผ้า ผู้ที่สนใจ
ระบบสารสนเทศฐานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
 HARDWARE
 SOFTWARE
 DATA
 TELECOMMUNICATION
 PROCEDURE
 PEOPLE
Fundamental function of Information system
 Input function
 Storage function
 Processing function
 Output function
 Communication function
ลักษณะและโครงสร้างของระบบสารสนเทL
• ผู้บริหารระดับสูง
• ผู้บริหารระดับกลาง
• ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ
• ระดับปฏิบัติการ

เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม



ความหมายเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม

 เทคโนโลยี
• วิทยาการที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ
 หลักการใช้
• ประสิทธิภาพของงาน (efficiency)
• ประสิทธิภาพ (productivity)
• ประหยัด (economy)
 การศึกษา (education)
• มีความหมายกว้างขวางครอบคลุมการพัฒนา การส่งเสริมมนุษย์และสังคมให้มีความเจริญงอกงามในทุกด้านทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
 เทคโนโลยีการศึกษา
• เทคโนโลยีการศึกษาเป็นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งในด้านการขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน

 ความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษา
• ทำให้มีการเรียนการสอนการจัดการศึกษามีความหมายมากขึ้น
• สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
• สามารถทำให้การจัดการศึกษาตั้งอยู่บนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
• ช่วยให้การจัดการศึกษามีพลังมากขึ้น มีบทบาทสำคัญในการสอนและการจัดการศึกษา
• ทำให้การเรียนอยู่แค่เอื้อม นำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้กับการศึกษาทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางมากขึ้น
• ทำให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษา
 เทคโนโลยีการสอนคือ
• เทคโนโลยีการสอนเป็นภาพของการแสวงหาแนวทางและวิธีการปฏิบัติเพื่อพัฒนาการกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 นวัตกรรมหมายถึง
• ความคิดและการกระทำใหม่ ๆที่ผ่านการพิสูจน์และนำเอามาใช้ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
 นวัตกรรมการศึกษาคือ
• ความคิดหรือวิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่ได้ผ่านการพิสูจน์ทดลองจนเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ นำมาใช้ในการส่งเสริม ปรับปรุง ระบบและกระบวนการทางการศึกษาให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพข้อสังเกตเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นนวัตกรรม
• เป็นความคิดหรือการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งที่คิดประดิษฐ์ขึ้นเอง
• การพิสูจน์ด้วยการวิจัย การทดลองใช้มาก่อน
• นำวิธีระบบมาใช้ชัดเจน
• ความคิดหรือกระทำใหม่ๆ
 ความสำคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาต่อการเรียนการสอน
• ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางและเข้าใจถูกต้องชัดเจนมากขึ้น
• สนองตอบเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
• ทำให้การจัดการศึกษามีคุณภาพสูงขึ้น
• มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
• ทำให้กระบวนการเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้เพียงอย่างเดียว
• ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรมากขึ้น